Sailwing Shape
ใบเรือแบบไหนไปเร็วกว่ากัน/เรือโลหะ
ชุดปฏิบัติการประเภท
อุปกรณ์ทดลองแรงดันของอากาศทำให้วัตถุเคลื่อนที่
ทักษะที่ได้จากการทดลองนี้
- ได้ฝึกทักษะการอ่าน สามารถเข้าใจในสิ่งที่อ่านและนำความเข้าใจนั้น ไปปฏิบัติทดลองกับสื่อจนเกิดความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการทางวิทยาศาสตร์ของสื่อนั้นๆ
- นักเรียนสามารถเข้าใจหลักการทางวิทยาศาสตร์ เรื่องการประยุกต์ใช้แรงดันของอากาศในการทำให้วัตถุเคลื่อนที่ ลักษณะของใบเรือที่มีผลต่อการเคลื่อนที่ของเรือ แรงพยุงของของเหลว การลอยตัวและการจมของเรือ ที่มีรูปร่างแตกต่างกัน
- จะได้พัฒนาทักษะการสังเกตเปรียบเทียบชนิดของใบเรือที่มีผลต่อความเร็วในการเคลื่อนที่ และการออกแบบรูปร่างของเรือให้สามารถลอยในน้ำดี ต่อยอดสู่การตั้งคำถามใหม่ทำการสำรวจตรวจสอบรอบใหม่ จนเกิดความเข้าใจและสามารถสร้างเป็นโครงงานวิทยาศาสตร์ตามความสนใจของตนเองได้
เนื้อหาสอดคล้องกับหลักสูตร
มาตรฐานที่ ๔ เรื่องแรงและการเคลื่อนที่
- มฐ.ว ๔.๑ ป.๓/๑ ทดลองและอธิบายผลของการออกแรงที่กระทำต่อวัตถุ
- มฐ.ว ๔.๑ ม.๓/๑ อธิบายความเร่งและผลของแรงลัพธ์ที่กระทำกับวัตถุ
- มฐ.ว๔.๑ ป.๕/๑ ทดลองและอธิบายการหาแรงลัพธ์ของแรงสองแรงซึ่งอยู่ในแนวเดียวกันที่กระทำต่อวัตถุ
- มฐ.ว ๔.๑ป.๕/๒ ทดลองและอธิบายความดันอากาศ
- มฐ.ว ๔.๑ ป.๕/๓ ทดลองและอธิบายความดันของของเหลว
- มฐ.ว ๔.๑ ป.๕/๔ ทดลองและอธิบายแรงพยุงของของเหลว การลอยตัวและการจมของวัตถุ
- มฐ.ว ๔.๑ ม.๓/๓ ทดลองและอธิบายแรงพยุงของของเหลวที่กระทำต่อวัตถุ
- มฐ.ว ๔.๒ ม.๓/๑ ทดลองและอธิบายความแตกต่างระหว่างแรงเสียดทานสถิตกับแรงและนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
- มฐ.ว ๔.๒ ม.๓/๓ สังเกตและอธิบายการเคลื่อนที่ของวัตถุที่เป็นแนวตรงและแนวโค้ง
- มฐ.ว ๔.๑ม.๒/๒ อธิบายแรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุที่หยุดนิ่งหรือวัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัว
- มฐ.ว ๕.๑ ม.๓/๑ อธิบายงาน พลังงานจลน์ พลังงานศักย์โน้มถ่วง กฎการอนุรักษ์พลังงาน และความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณเหล่านี้ รวมทั้งนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
Boat Racing
ใบเรือแบบไหนไปเร็วกว่ากัน/เรือโลหะ
ชุดปฏิบัติการประเภท
อุปกรณ์ทดลองรูปร่างรูปทรงที่มีผลต่อการเคลื่อนที่
ทักษะที่ได้จากการทดลองนี้
- ได้ฝึกทักษะการอ่าน สามารถเข้าใจในสิ่งที่อ่านและนำความเข้าใจนั้น ไปปฏิบัติทดลองกับสื่อจนเกิดความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการทางวิทยาศาสตร์ของสื่อนั้นๆ
- นักเรียนสามารถเข้าใจหลักการทางวิทยาศาสตร์ เรื่องรูปร่างของเรือที่มีผลต่อการเคลื่อนที่
- จะได้พัฒนาทักษะการสังเกตเปรียบเทียบความเร็วในการเคลื่อนที่ของเรือที่มีรูปร่างแตกต่างกันและต่อยอดสู่การตั้งคำถามใหม่ทำการสำรวจตรวจสอบรอบใหม่ จนเกิดความเข้าใจและสามารถสร้างเป็นโครงงานวิทยาศาสตร์ตามความสนใจของตนเองได้
เนื้อหาสอดคล้องกับหลักสูตร
มาตรฐานที่ ๔ เรื่องแรงและการเคลื่อนที่
- มฐ.ว ๔.๑ ป.๓/๑ ทดลองและอธิบายผลของการออกแรงที่กระทำต่อวัตถุ
- มฐ.ว ๔.๑ ม.๓/๑ อธิบายความเร่งและผลของแรงลัพธ์ที่กระทำกับวัตถุ
- มฐ.ว ๔.๑ ม.๔-๖๑/ทดลองและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างแรงกับการเคลื่อนที่ของวัตถุในสนามโน้มถ่วง และอธิบายการนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
- มฐ.ว ๔.๒ ม.๓/๑ ทดลองและอธิบายความแตกต่างระหว่างแรงเสียดทานสถิตกับแรงและนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
- มฐ.ว ๔.๒ ม.๓/๓ สังเกตและอธิบายการเคลื่อนที่ของวัตถุที่เป็นแนวตรงและแนวโค้ง
- มฐ.ว ๕.๑ ม.๓/๑ อธิบายงาน พลังงานจลน์ พลังงานศักย์โน้มถ่วง กฎการอนุรักษ์พลังงาน และความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณเหล่านี้ รวมทั้งนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ชุดปฏิบัติการประเภท
อุปกรณ์ทดลองพลังงานจลน์ พลังงานศักย์
ทักษะที่ได้จากการทดลองนี้
- ได้ฝึกทักษะการอ่าน สามารถเข้าใจในสิ่งที่อ่านและนำความเข้าใจนั้น ไปปฏิบัติทดลองกับสื่อจนเกิดความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการทางวิทยาศาสตร์ของสื่อนั้นๆ
- นักเรียนสามารถเข้าใจหลักการทางวิทยาศาสตร์ เรื่องพลังงานจลน์ พลังงานศักย์โน้มถ่วงและความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณเหล่านี้ รวมทั้งนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
- จะได้พัฒนาทักษะการสังเกตการผลิตกระแสไฟฟ้าจากไดนาโมซึ่งเกิดจากแรงดันของน้ำที่ไหลจากที่ๆอยู่ในระดับสูงกว่าตกลงไปยังที่ๆมีระดับต่ำกว่าและต่อยอดสู่การตั้งคำถามใหม่ทำการสำรวจตรวจสอบรอบใหม่ จนเกิดความเข้าใจและสามารถสร้างเป็นโครงงานวิทยาศาสตร์ตามความสนใจของตนเองได้
เนื้อหาสอดคล้องกับหลักสูตร
มาตรฐานที่ ๔ เรื่องแรงและการเคลื่อนที่
- มฐ.ว ๔.๑ ป.๕/๓ ทดลองและอธิบายความดันของของเหลว
- มฐ.ว ๔.๑ ม.๔ -๖/๑ทดลองและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างแรงกับการเคลื่อนที่ของวัตถุในสนามโน้มถ่วง และอธิบายการนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
- มฐ.ว ๔.๑ ม.๔ -๖/๒ ทดลองและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างแรงกับการเคลื่อนที่ของอนุภาคในสนามไฟฟ้า และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
- มฐ.ว ๔.๑ ม.๔ -๖/๓ ทดลองและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างแรงกับการเคลื่อนที่ของอนุภาคในสนามแม่เหล็ก และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
- มฐ.ว ๕.๑ ม.๓/๑ อธิบายงาน พลังงานจลน์ พลังงานศักย์โน้มถ่วง กฎการอนุรักษ์พลังงาน และความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณเหล่านี้ รวมทั้งนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
The Archimedes’ screw
เกลียวอาร์คิมีดีส
ชุดปฏิบัติการประเภท
อุปกรณ์ทดลองพลังงานจลน์ พลังงานศักย์ กฎการอนุรักษ์พลังงาน
ทักษะที่ได้จากการทดลองนี้
- ได้ฝึกทักษะการอ่าน สามารถเข้าใจในสิ่งที่อ่านและนำความเข้าใจนั้น ไปปฏิบัติทดลองกับสื่อจนเกิดความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการทางวิทยาศาสตร์ของสื่อนั้นๆ
- นักเรียนสามารถเข้าใจหลักการทางวิทยาศาสตร์ เรื่องพลังงานจลน์ พลังงานศักย์โน้มถ่วง กฎการอนุรักษ์พลังงาน และความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณเหล่านี้ รวมทั้งนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
- จะได้พัฒนาทักษะการสังเกตผลจากการหมุนเกลียวอาร์คิมีดีสซึ่งทำให้สามารถนำน้ำจากที่ๆอยู่ในระดับต่ำกว่าให้ขึ้นสู่ที่ๆมีระดับสูงกว่าได้และต่อยอดสู่การตั้งคำถามใหม่ทำการสำรวจตรวจสอบรอบใหม่ จนเกิดความเข้าใจและสามารถสร้างเป็นโครงงานวิทยาศาสตร์ตามความสนใจของตนเองได้
เนื้อหาสอดคล้องกับหลักสูตร
มาตรฐานที่ ๔ เรื่องแรงและการเคลื่อนที่
- มฐ.ว ๔.๑ป.๕/๓ ทดลองและอธิบายความดันของของเหลว
- มฐ.ว ๕.๑ ม.๓/๑ อธิบายงาน พลังงานจลน์ พลังงานศักย์โน้มถ่วง กฎการอนุรักษ์พลังงาน และความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณเหล่านี้ รวมทั้งนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
Pendulum Table
เพนดูลัมวาดลวดลาย
ชุดปฏิบัติการประเภท
อุปกรณ์ทดลองการเคลื่อนที่ของวัตถุในสนามโน้มถ่วง
ทักษะที่ได้จากการทดลองนี้
- ได้ฝึกทักษะการอ่าน สามารถเข้าใจในสิ่งที่อ่านและนำความเข้าใจนั้น ไปปฏิบัติทดลองกับสื่อจนเกิดความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการทางวิทยาศาสตร์ของสื่อนั้นๆ
- นักเรียนสามารถเข้าใจหลักการทางวิทยาศาสตร์ เรื่องการเคลื่อนที่ของวัตถุในสนามโน้มถ่วง
- จะได้พัฒนาทักษะการสังเกตจากการทดลองทำให้เพนดูลัมแกว่งและสังเกตการแกว่งของเพนดูลัมกับลวดลาย
เนื้อหาสอดคล้องกับหลักสูตร
มาตรฐานที่ ๔ เรื่องแรงและการเคลื่อนที่
- มฐ.ว ๔.๑ ป.๓/๑ ทดลองและอธิบายผลของการออกแรงที่กระทำต่อวัตถุ
- มฐ.ว ๔.๑ ม.๓/๑ อธิบายความเร่งและผลของแรงลัพธ์ที่กระทำกับวัตถุ
- มฐ.ว ๔.๑ ม.๔-๖๑/ทดลองและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างแรงกับการเคลื่อนที่ของวัตถุในสนามโน้มถ่วง และอธิบายการนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
- มฐ.ว ๔.๒ ม.๓/๑ ทดลองและอธิบายความแตกต่างระหว่างแรงเสียดทานสถิตกับแรงและนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
- มฐ.ว ๔.๒ ม.๓/๓ สังเกตและอธิบายการเคลื่อนที่ของวัตถุที่เป็นแนวตรงและแนวโค้ง
Plasma – Effect
จานพลาสม่า
ชุดปฏิบัติการประเภท
อุปกรณ์ทดลองการเคลื่อนที่ของอนุภาคในสนามไฟฟ้า
ทักษะที่ได้จากการทดลองนี้
- ได้ฝึกทักษะการอ่าน สามารถเข้าใจในสิ่งที่อ่านและนำความเข้าใจนั้น ไปปฏิบัติทดลองกับสื่อจนเกิดความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการทางวิทยาศาสตร์ของสื่อนั้นๆ
- นักเรียนสามารถเข้าใจหลักการทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมบัติของแก๊ส ความสัมพันธ์ระหว่างแรงกับการเคลื่อนที่ของอนุภาคในสนามไฟฟ้า แรงนิวเคลียร์และแรงไฟฟ้าระหว่างอนุภาคในนิวเคลียส
- จะได้พัฒนาทักษะการสังเกต จากการทำให้เกิดการเปลี่ยนสถานะกลับไปกลับมาระหว่างแก๊สและพลาสม่า และสามารถต่อยอดสู่การตั้งคำถามใหม่ทำการสำรวจตรวจสอบรอบใหม่ จนเกิดความเข้าใจและสามารถสร้างเป็นโครงงานวิทยาศาสตร์ตามความสนใจของตนเองได้
เนื้อหาสอดคล้องกับหลักสูตร
มาตรฐานที่ ๓ สารและสมบัติของสาร
- มฐ.ว ๓.๑ ป.๖/๑ ทดลองและอธิบายสมบัติของของแข็ง ของเหลว หรือแก๊ส
- มาตรฐานที่ ๔ แรงและการเคลื่อนที่
- มฐ.ว ๔.๑ ม.๔-๖/๒ ทดลองและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างแรงกับการเคลื่อนที่ของอนุภาคในสนามไฟฟ้า และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
- มฐ.ว ๔.๑ ม.๔-๖/๔ วิเคราะห์และอธิบายแรงนิวเคลียร์และแรงไฟฟ้าระหว่างอนุภาคในนิวเคลียส
ชุดปฏิบัติการประเภท
อุปกรณ์ทดลองการเคลื่อนที่ของวัตถุในสนามโน้มถ่วง
ทักษะที่ได้จากการทดลองนี้
- ได้ฝึกทักษะการอ่าน สามารถเข้าใจในสิ่งที่อ่านและนำความเข้าใจนั้น ไปปฏิบัติทดลองกับสื่อจนเกิดความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการทางวิทยาศาสตร์ของสื่อนั้นๆ
- นักเรียนสามารถเข้าใจหลักการทางวิทยาศาสตร์ เรื่องการเคลื่อนที่ของวัตถุในสนามโน้มถ่วง
- จะได้พัฒนาทักษะการสังเกตจากการทดลองทำให้เพนดูลัมแกว่งและสังเกตการแกว่งของเพนดูลัมกับการเคลื่อนที่ของรถ ต่อยอดสู่การตั้งคำถามใหม่ทำการสำรวจตรวจสอบรอบใหม่ จนเกิดความเข้าใจและสามารถสร้างเป็นโครงงานวิทยาศาสตร์ตามความสนใจของตนเองได้
เนื้อหาสอดคล้องกับหลักสูตร
มาตรฐานที่ ๔ เรื่องแรงและการเคลื่อนที่
- มฐ.ว ๔.๑ ป.๓/๑ ทดลองและอธิบายผลของการออกแรงที่กระทำต่อวัตถุ
- มฐ.ว ๔.๑ ม.๓/๑ อธิบายความเร่งและผลของแรงลัพธ์ที่กระทำกับวัตถุ
- มฐ.ว ๔.๑ ม.๔-๖๑/ทดลองและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างแรงกับการเคลื่อนที่ของวัตถุในสนามโน้มถ่วง และอธิบายการนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
- มฐ.ว ๔.๒ ม.๓/๓ สังเกตและอธิบายการเคลื่อนที่ของวัตถุที่เป็นแนวตรงและแนวโค้ง
- มฐ.ว ๕.๑ ม.๓/๑ อธิบายงาน พลังงานจลน์ พลังงานศักย์โน้มถ่วง กฎการอนุรักษ์พลังงาน และความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณเหล่านี้ รวมทั้งนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ชุดปฏิบัติการประเภท
อุปกรณ์ทดลองการตกของวัตถุสู่พื้นโลก
ทักษะที่ได้จากการทดลองนี้
- ได้ฝึกทักษะการอ่าน สามารถเข้าใจในสิ่งที่อ่านและนำความเข้าใจนั้น ไปปฏิบัติทดลองกับสื่อจนเกิดความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการทางวิทยาศาสตร์ของสื่อนั้นๆ
- นักเรียนสามารถเข้าใจหลักการทางวิทยาศาสตร์ เรื่องการตกของวัตถุสู่พื้นโลกและอธิบายแรงที่โลกดึงดูดวัตถุ
- จะได้พัฒนาทักษะการสังเกตจากการทดลองยกตัวเองด้วยรอก 3 แบบและสังเกตว่ารอกแบบใดผ่อนแรงได้มากที่สุด ต่อยอดสู่การตั้งคำถามใหม่ทำการสำรวจตรวจสอบรอบใหม่ จนเกิดความเข้าใจและสามารถสร้างเป็นโครงงานวิทยาศาสตร์ตามความสนใจของตนเองได้
เนื้อหาสอดคล้องกับหลักสูตร
- มาตรฐานที่ ๔ เรื่องแรงและการเคลื่อนที่
- มฐ.ว ๔.๑ ป.๓/๑ ทดลองและอธิบายผลของการออกแรงที่กระทำต่อวัตถุ
- มฐ.ว ๔.๑ ม.๓/๑ อธิบายความเร่งและผลของแรงลัพธ์ที่กระทำกับวัตถุ
- มฐ.ว ๔.๑ ม.๔-๖๑/ทดลองและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างแรงกับการเคลื่อนที่ของวัตถุในสนามโน้มถ่วง และอธิบายการนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
- มฐ.ว ๔.๒ ม.๓/๑ ทดลองและอธิบายความแตกต่างระหว่างแรงเสียดทานสถิตกับแรงและนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ELECTRICITY BICYCLE GENERATOR
จักรยานผลิตไฟฟ้า
ชุดปฏิบัติการประเภท
อุปกรณ์ทดลองเครื่องกำเนิดไฟฟ้า
ทักษะที่ได้จากการทดลองนี้
- ได้ฝึกทักษะการอ่าน สามารถเข้าใจในสิ่งที่อ่านและนำความเข้าใจนั้น ไปปฏิบัติทดลองกับสื่อจนเกิดความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการทางวิทยาศาสตร์ของสื่อนั้นๆ
- นักเรียนสามารถเข้าใจหลักการทางวิทยาศาสตร์ ไฟฟ้าและสนามพลังแม่เหล็ก
- จะได้พัฒนาทักษะการสังเกตจากการทดลองปั่นจักรยานที่ติดกับไดนาโมที่มีขดลวดทองแดงและสนามแม่เหล็ก ต่อยอดสู่การตั้งคำถามใหม่ทำการสำรวจตรวจสอบรอบใหม่ จนเกิดความเข้าใจและสามารถสร้างเป็นโครงงานวิทยาศาสตร์ตามความสนใจของตนเองได้
เนื้อหาสอดคล้องกับหลักสูตร
มาตรฐานที่ ๕ เรื่องพลังงาน
ELECTRICITY BICYCLE GENERATOR
จักรยานผลิตไฟฟ้า
ชุดปฏิบัติการประเภท
อุปกรณ์ทดลองเครื่องกำเนิดเสียง
ทักษะที่ได้จากการทดลองนี้
- ได้ฝึกทักษะการอ่าน สามารถเข้าใจในสิ่งที่อ่านและนำความเข้าใจนั้น ไปปฏิบัติทดลองกับสื่อจนเกิดความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการทางวิทยาศาสตร์ของสื่อนั้นๆ
- นักเรียนสามารถเข้าใจหลักการทางวิทยาศาสตร์ ไฟฟ้าและสนามพลังแม่เหล็ก
- จะได้พัฒนาทักษะการสังเกตจากการทดลองปั่นจักรยานที่ติดกับไดนาโมที่มีขดลวดทองแดงและสนามแม่เหล็ก ต่อยอดสู่การตั้งคำถามใหม่ทำการสำรวจตรวจสอบรอบใหม่ จนเกิดความเข้าใจและสามารถสร้างเป็นโครงงานวิทยาศาสตร์ตามความสนใจของตนเองได้
เนื้อหาสอดคล้องกับหลักสูตร
มาตรฐานที่ ๕ เรื่องพลังงาน
บริษัท นานมีบุ๊คส์ จำกัด เลขที่ 11 ซอยสุขุมวิท 31 (สวัสดี) ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมติดต่อ: คุณนิตยา โทร.0-2662-3000 ต่อ 4425 มือถือ 061-823-4982
e-mail: nittaya_k@nanmeebooks.com